BSI evaluation criteria ของ ตัวสร้างเลขสุ่มเทียม

หน่วยงานความมั่นคงทางสารสนเทศของเยอรมัน (The German Federal Office for Information Security: BSI) ได้จัดตั้งกฎเกณฑ์ในการกำหนดคุณภาพของตัวสร้างเลขสุ่มเทียมขึ้นดังนี้

  • K1 ลำดับสุ่มเสมือนซึ่งมีโอกาสต่ำที่หลักที่อยู่ติดกันจะมีค่าซ้ำกัน
  • K2 ลำดับสุ่มเสมือนซึ่งไม่สามารถแยกจากลำดับสุ่มแท้จริงด้วยการทดสอบทางสถิติที่แน่ชัด การทดสอบโมโนบิต monobit test (จำนวนที่เท่ากันของเลขศูนย์และเลขหนึ่งในลำดับ), การทดสอบโปกโกอร์ poker test (ตัวอย่างพิเศษของ chi-square test), การทดสอบการวิ่งruns test (นับจำนวนความถี่ของการวิ่งของความยาวที่ต่างๆกัน), การทดสอบการวิ่งระยะยาว longruns test (ตรวจสอบการวิ่ว่ามี ความยาวมากกว่า 34 or หรือใหญ่กว่า 20 000 bits ในลำดับหรือไม่ — both from BSI2 (AIS 20, v. 1, 1999) and FIPS (140-1, 1994), และ การทดสอบความผิดพลาดอันเนื่องมากจากความสัมพันธ์autocorrelation test ใจความสำคัญของการทดสอบเหล่านี้คือลำดับย่อยใดๆที่เลือกมาจะต้องไม่มีข้อมูลใดของตัวถัดไปของลำดับปรากฏอยู่
  • K3 สำหรับในทางปฏิบัติเป็นไปไม่ได้ที่ผู้โจมตีใดๆจะคำนวณหรือเดาตัวเลขสุ่มได้จากลำดับย่อยใดๆที่ได้มา ตัวก่อนหน้าหรือตัวถัดไปของลำดับ หรือจากสถานะใดๆของ ตัวสร้างเลขสุ่มเทียม
  • K4 สำหรับในทางปฏิบัติเป็นไปไม่ได้ที่ผู้โจมตีใดๆจะคำนวณหรือเดาตัวเลขสุ่มได้จาก สถานะภายในของตัวสร้างเลขสุ่มเทียม ตัวก่อนหน้าหรือตัวถัดไปของลำดับ หรือ สถานะก่อนหน้าใดๆของ ตัวสร้างเลขสุ่มเทียม

สำหรับโปรแกรมในการเข้ารหัสตัวสร้างเลขสุ่มเทียม (PRNG) ที่ครบตามเงื่อนไขของมาตรฐาน K3 or K4 เท่านั้นที่ยอมรับได้ว่าเป็นตัวสร้างเลขสุ่มเทียมที่มีความมั่นคงเชิงรหัส (CSPRNG)

ใกล้เคียง

ตัวสร้างเลขสุ่มเทียม ตัวสร้างความสอดคล้องแบบเชิงเส้น ตัวสร้างเลขสุ่มเทียมแบบบลัมบลัมชับ ตัวระบุวัตถุดิจิทัล ตัวรับความรู้สึกเจ็บปวด ตัวกระตุ้น ตัวรับแรงกล ตัวเรียงกระแส ตัวรับรู้สารเคมี ตัวกระตุ้นให้ทำงาน